เวทีสมัชชาสุขภาพ ครั้งที่ 1 "โครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ

8 สิงหาคม 2557  วิายาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น




 

          งานศูนย์ศึกษา นวัตกรรม และ วิจัยสถาบัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น  ได้จัดโครงการ  พัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนานโยบายสาธารณะการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนโดยชุมชน 2) พัฒนากลไกสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนโดยชุมชน 3) พัฒนาระบบคุณภาพการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น และ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีระยะเวลาตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 2557 – มิถุนายน 2558 ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 7 ขอนแก่น

ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายสมัชชาสุขภาพ ได้แก่ 1) การเรื่อง “ เวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น  ครั้งที่ 1” ณ ห้องประชุม A 101  อาคาร A  จำนวนวันที่จัดอบรม  1 วัน จำนวนผู้เข้าอบรมทั้งหมด  63 คน ประกอบด้วย ตัวแทนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพเขต 7   ตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. เจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขอำเภอ ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น  เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล  และอาจารย์ในวิทยาลัยฯ กิจกรรมประกอบด้วย การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบาย  การทำบันทึกข้อตกลงโครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทั้ง 2 คณะ คือ จังหวัดกาฬสินธุ์  และจังหวัดขอนแก่น  การจัดเวทีเสวนา  เรื่องภารกิจดำเนินกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน  เวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นกองทุนผู้สูงอายุระยะยาว และ 2) กิจกรรมติดตามความก้าวหน้าของเครือข่ายสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ เทศบาลอุ่มเม่า ตำบลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ในวันที่ 22 สิงหาคม 2557

          ผลการจัดกิจกรรมพบว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ดังนี้ 1) มีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ ร่วมกันระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานธารณสุข โรงพยาบาลชุมชน และ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ใน 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น  และจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเสร็จสมบูรณ์แล้วทั้ง 2 จังหวัด 2) ข้อมูลความต้องการของผู้สูงอายุและชุมชนจากการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มี 2 ประเด็น คือ ความต้องการของผู้สูงอายุ  และการสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกัน โดยพบว่าด้านความต้องการของผู้สูงอายุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือผู้สูงอายุที่สามารถทำกิจกรรมได้ด้วยตนเอง ให้เน้นการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ  มีสถานที่สำหรับพบปะเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน  เช่น  มีโรงเรียนผู้สูงอายุ  โดยใช้ครูเป็นคนในชุมชน  วิทยาลัยฯ ควรมีส่วนร่วมในการสนับสนุนด้านคู่มือการปฏิบัติตัว กลุ่มสองเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง ในชุมชนควรมีอสม. ลงติดตามเยี่ยมในชุมชน  โดยต้องได้รับการฝึกอบรมก่อน ให้มีงบประมาณสำหรับจัดจ้างอสม. กลุ่มนี้ อสม.ควรเป็นผู้ที่มีจิตอาสาในการทำงานจริง ๆ     3) การสร้างเครือข่ายสมัชชาสุขภาพ เสนอให้มีการประสานกันในการทำงานร่วมกันระหว่าง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ประชาชน และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ฝ่ายสาธารณสุข ควรมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุระดับอำเภอ เพื่อจะได้นำเสนอแก่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นได้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ ด้านการทำงานควรมีวิชาการเข้ามารองรับ เพื่อจะได้รับรองความน่าเชื่อถือของกิจกรรมที่ทำ อีกทั้งควรมีการจัดเวทีร่วมกันเพื่อให้แต่ละพื้นที่ได้มีโอกาสในการนำเสนอผลงานเด่น 4) ผลจากการติดตามความก้าวหน้าในพื้นที่พบว่าในพื้นที่อำเภอยางตลาด ประกอบด้วย2 ตำบล ได้แก่ ตำบลยางตลาด และ ตำบลอุ่มเม่า ซึ่งพบว่า ผู้บริหารโรงพยาบาลยางตลาด ให้ความสนใจร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และ ให้ข้อเสนอแนะขยายโครงการให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ส่วนผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า นายกเทศมนตรีโคกศรี ยินดีร่วมมือในโครงการ และในพื้นที่มีชมรมผู้สูงอายุและกลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับงบประมาณและการสนับสนุนจากเทศบาลโคกศรี มีเครือข่ายผู้นำชุมชนที่ดำเนินกิจกรรมให้การดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ในชุมชนโดยมีเจ้าคณะตำบลเป็นที่ปรึกษา

          ความเป็นไปได้ของการขับเคลื่อนและการดำเนินความร่วมมือของพื้นที่ในการดำเนินโครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในระยะที่ 1 จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะประสบความสำเร็จในการสร้างนโยบายสาธารณะการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน 

          งานศูนย์ศึกษา นวัตกรรม และ วิจัยสถาบัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น  ได้จัดโครงการ  พัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนานโยบายสาธารณะการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนโดยชุมชน 2) พัฒนากลไกสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนโดยชุมชน 3) พัฒนาระบบคุณภาพการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น และ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีระยะเวลาตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 2557 – มิถุนายน 2558 ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 7 ขอนแก่น

ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายสมัชชาสุขภาพ ได้แก่ 1) การเรื่อง “ เวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น  ครั้งที่ 1” ณ ห้องประชุม A 101  อาคาร A  จำนวนวันที่จัดอบรม  1 วัน จำนวนผู้เข้าอบรมทั้งหมด  63 คน ประกอบด้วย ตัวแทนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพเขต 7   ตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. เจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขอำเภอ ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น  เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล  และอาจารย์ในวิทยาลัยฯ กิจกรรมประกอบด้วย การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบาย  การทำบันทึกข้อตกลงโครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทั้ง 2 คณะ คือ จังหวัดกาฬสินธุ์  และจังหวัดขอนแก่น  การจัดเวทีเสวนา  เรื่องภารกิจดำเนินกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน  เวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นกองทุนผู้สูงอายุระยะยาว และ 2) กิจกรรมติดตามความก้าวหน้าของเครือข่ายสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ เทศบาลอุ่มเม่า ตำบลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ในวันที่ 22 สิงหาคม 2557

          ผลการจัดกิจกรรมพบว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ดังนี้ 1) มีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ ร่วมกันระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานธารณสุข โรงพยาบาลชุมชน และ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ใน 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น  และจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเสร็จสมบูรณ์แล้วทั้ง 2 จังหวัด 2) ข้อมูลความต้องการของผู้สูงอายุและชุมชนจากการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มี 2 ประเด็น คือ ความต้องการของผู้สูงอายุ  และการสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกัน โดยพบว่าด้านความต้องการของผู้สูงอายุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือผู้สูงอายุที่สามารถทำกิจกรรมได้ด้วยตนเอง ให้เน้นการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ  มีสถานที่สำหรับพบปะเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน  เช่น  มีโรงเรียนผู้สูงอายุ  โดยใช้ครูเป็นคนในชุมชน  วิทยาลัยฯ ควรมีส่วนร่วมในการสนับสนุนด้านคู่มือการปฏิบัติตัว กลุ่มสองเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง ในชุมชนควรมีอสม. ลงติดตามเยี่ยมในชุมชน  โดยต้องได้รับการฝึกอบรมก่อน ให้มีงบประมาณสำหรับจัดจ้างอสม. กลุ่มนี้ อสม.ควรเป็นผู้ที่มีจิตอาสาในการทำงานจริง ๆ     3) การสร้างเครือข่ายสมัชชาสุขภาพ เสนอให้มีการประสานกันในการทำงานร่วมกันระหว่าง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ประชาชน และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ฝ่ายสาธารณสุข ควรมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุระดับอำเภอ เพื่อจะได้นำเสนอแก่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นได้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ ด้านการทำงานควรมีวิชาการเข้ามารองรับ เพื่อจะได้รับรองความน่าเชื่อถือของกิจกรรมที่ทำ อีกทั้งควรมีการจัดเวทีร่วมกันเพื่อให้แต่ละพื้นที่ได้มีโอกาสในการนำเสนอผลงานเด่น 4) ผลจากการติดตามความก้าวหน้าในพื้นที่พบว่าในพื้นที่อำเภอยางตลาด ประกอบด้วย2 ตำบล ได้แก่ ตำบลยางตลาด และ ตำบลอุ่มเม่า ซึ่งพบว่า ผู้บริหารโรงพยาบาลยางตลาด ให้ความสนใจร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และ ให้ข้อเสนอแนะขยายโครงการให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ส่วนผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า นายกเทศมนตรีโคกศรี ยินดีร่วมมือในโครงการ และในพื้นที่มีชมรมผู้สูงอายุและกลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับงบประมาณและการสนับสนุนจากเทศบาลโคกศรี มีเครือข่ายผู้นำชุมชนที่ดำเนินกิจกรรมให้การดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ในชุมชนโดยมีเจ้าคณะตำบลเป็นที่ปรึกษา

          ความเป็นไปได้ของการขับเคลื่อนและการดำเนินความร่วมมือของพื้นที่ในการดำเนินโครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในระยะที่ 1 จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะประสบความสำเร็จในการสร้างนโยบายสาธารณะการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน 

          งานศูนย์ศึกษา นวัตกรรม และ วิจัยสถาบัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น  ได้จัดโครงการ  พัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนานโยบายสาธารณะการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนโดยชุมชน 2) พัฒนากลไกสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนโดยชุมชน 3) พัฒนาระบบคุณภาพการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น และ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีระยะเวลาตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 2557 – มิถุนายน 2558 ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 7 ขอนแก่น

ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายสมัชชาสุขภาพ ได้แก่ 1) การเรื่อง “ เวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น  ครั้งที่ 1” ณ ห้องประชุม A 101  อาคาร A  จำนวนวันที่จัดอบรม  1 วัน จำนวนผู้เข้าอบรมทั้งหมด  63 คน ประกอบด้วย ตัวแทนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพเขต 7   ตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. เจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขอำเภอ ประธานอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น  เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล  และอาจารย์ในวิทยาลัยฯ กิจกรรมประกอบด้วย การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบาย  การทำบันทึกข้อตกลงโครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทั้ง 2 คณะ คือ จังหวัดกาฬสินธุ์  และจังหวัดขอนแก่น  การจัดเวทีเสวนา  เรื่องภารกิจดำเนินกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน  เวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นกองทุนผู้สูงอายุระยะยาว และ 2) กิจกรรมติดตามความก้าวหน้าของเครือข่ายสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ เทศบาลอุ่มเม่า ตำบลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ในวันที่ 22 สิงหาคม 2557

          ผลการจัดกิจกรรมพบว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ดังนี้ 1) มีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการสมัชชาสุขภาพ ร่วมกันระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานธารณสุข โรงพยาบาลชุมชน และ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ใน 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น  และจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเสร็จสมบูรณ์แล้วทั้ง 2 จังหวัด 2) ข้อมูลความต้องการของผู้สูงอายุและชุมชนจากการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มี 2 ประเด็น คือ ความต้องการของผู้สูงอายุ  และการสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกัน โดยพบว่าด้านความต้องการของผู้สูงอายุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือผู้สูงอายุที่สามารถทำกิจกรรมได้ด้วยตนเอง ให้เน้นการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ  มีสถานที่สำหรับพบปะเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน  เช่น  มีโรงเรียนผู้สูงอายุ  โดยใช้ครูเป็นคนในชุมชน  วิทยาลัยฯ ควรมีส่วนร่วมในการสนับสนุนด้านคู่มือการปฏิบัติตัว กลุ่มสองเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง ในชุมชนควรมีอสม. ลงติดตามเยี่ยมในชุมชน  โดยต้องได้รับการฝึกอบรมก่อน ให้มีงบประมาณสำหรับจัดจ้างอสม. กลุ่มนี้ อสม.ควรเป็นผู้ที่มีจิตอาสาในการทำงานจริง ๆ     3) การสร้างเครือข่ายสมัชชาสุขภาพ เสนอให้มีการประสานกันในการทำงานร่วมกันระหว่าง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ประชาชน และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ฝ่ายสาธารณสุข ควรมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุระดับอำเภอ เพื่อจะได้นำเสนอแก่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นได้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ ด้านการทำงานควรมีวิชาการเข้ามารองรับ เพื่อจะได้รับรองความน่าเชื่อถือของกิจกรรมที่ทำ อีกทั้งควรมีการจัดเวทีร่วมกันเพื่อให้แต่ละพื้นที่ได้มีโอกาสในการนำเสนอผลงานเด่น 4) ผลจากการติดตามความก้าวหน้าในพื้นที่พบว่าในพื้นที่อำเภอยางตลาด ประกอบด้วย2 ตำบล ได้แก่ ตำบลยางตลาด และ ตำบลอุ่มเม่า ซึ่งพบว่า ผู้บริหารโรงพยาบาลยางตลาด ให้ความสนใจร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และ ให้ข้อเสนอแนะขยายโครงการให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ส่วนผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า นายกเทศมนตรีโคกศรี ยินดีร่วมมือในโครงการ และในพื้นที่มีชมรมผู้สูงอายุและกลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับงบประมาณและการสนับสนุนจากเทศบาลโคกศรี มีเครือข่ายผู้นำชุมชนที่ดำเนินกิจกรรมให้การดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ในชุมชนโดยมีเจ้าคณะตำบลเป็นที่ปรึกษา

          ความเป็นไปได้ของการขับเคลื่อนและการดำเนินความร่วมมือของพื้นที่ในการดำเนินโครงการพัฒนารูปแบบกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในระยะที่ 1 จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะประสบความสำเร็จในการสร้างนโยบายสาธารณะการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน